วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

สรุปวิจัย


เรื่อง  การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ



ของ  เอราวรรณ  ศรีจักร



ปี  2550




ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจําแนก
รายทักษะ หลงการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ 
 2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยก่อน
และหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ 

ขอบเขตของการวิจัย
ประชากร 
 ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชาย - หญิงที่มีอายุระหว่าง 4 - 5 ปี ซึ่ง
กําลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร 
เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่การศึกษา 2 

กลุ่มตัวอย่าง 
 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั คือ นักเรียนชาย - หญิงที่มีอายุระหวาง 4 - 5 ปี ซึ่ง
กําลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร 
เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่การศึกษา 2 ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับ
สลากเลือกจํานวน 1 ห้องเรียน จากจํานวน 2 ห้องเรียน และผู้วิจัยสุ่มนักเรียนเข้ากลุ่มทดลอง 
จํานวน 15 คน

สมมติฐานในการวิจัย 
   เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดแบบฝึกทักษะ มีการพัฒนาทักษะกระบวนการ
วิทยาศาสตร ์ก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกัน

เครื่องมือที่ใช้ในการวจิย
1. ชดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์โดยใชสมองเป็นฐานการเรียนรู้ (Brain - Based Learning) 
ของ รศ.ดร.กุลยา ตันติผลาชิวะี 
 2.  แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระตามชุดแบบฝึกทักษะ 
 3. แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร ์

วิธีดำเนินการทดลอง
การวจิยครั้งนี้ ดำเนินการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ่ ปีการศึกษา 2550 เป็นเวลา 10 สัปดาห์
โดยแบ่งเป่็นสัปดาห์ ในการประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2  สัปดาห์ 
สัปดาห์ละ 4 วัน คือ วันจันทร์ วันอังคาร  วันพุธ และวนศุกร ์ในชวงเวลา ่ 08.00 - 11.30 น. ในการ
ประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ใชส้ปดาห์ ที่ 1 ่ี และสัปดาห์ที่ 10 ่ี ระยะเวลาในการ
ประเมินจากเด็กจำนวน  15 คน ใช่เวลาในการทำแบบประเมินคนละ 5 ขอ้ ข้อละ  2 นาทีรวม 
10 นาทีต่อเดก 1 คน

การวิเคราะห์ข้อมูล
1 หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 
2 วิเคราะห์ เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนเฉลียก่ีอนและหลงัการใช ้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอ ชุดแบบฝึกทักษะ เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยทังภาพรวมและ
จำแนกรายทักษะ โดยใช้ค้าแจกแจง  t แบบ Dependent Samples

สรุปผลการวิจัย
1. พัฒนาการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวม หลังการใช้กิจกรรม 
การเรียนรประกอบชุดแบบฝึกทักษะอยู่ในระดับดีมากและจําแนกรายทักษะ อยู่ในระดับดีมาก 3 ทักษะ 
คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการสื่อสาร และทักษะการลงความเห็นและอยู่ในระดับดี 1 ทักษะ คือ 
ทักษะการจําแนกประเภท 
 2. พัฒนาการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชุดแบบฝึกทักษะสูงขึ้นกว่ากอนการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 


ครังที่18

วันจันทร์ที่่ 30 กันยายน 2556



บันทึกการเรียนการสอน

                  วันนี้อาจารย์ให้ส่งตัวงาน ทั้งงานกลุ่มและงานเดียว และได้พูดถึงเรื่องของการสอบ
ครั้งที่ 17 


วันจันทร์ ที่ 23 กันยายน 2556


บันทึกการเรียนการสอน

วันนี้อาจารย์เบียร์ให้กลุ่มที่ทำแกงจืด ออกมาสาธิตการสอนในการทำแกงจืด โดยให้เพื่อนๆในห้องที่เหลือเป็นเด็ก



อุปกรณ์


ระหว่างทำแกงจืด






ครั้งที่ 16

วันจันทร์ ที่  16 กันยายน 2556



บันทึกการเรียน

                  วันนีี้อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มกัน เป็น 6 กลุ่ม เพื่อนให้นักศึกษาช่วยกันเขียนแผนการสอนเกี่ยวกับ เรื่องการทำอาหาร หลังจากนั้นก็ให้แต่ละกลุ่มเลือกเมนูอาหารอย่างหนึ่ง แล้วให้นักศึกษาเขียนอุปกรณ์ วัตถุดิบที่จะใช่ ประโยชน์  จากนั้นก็ให้เขียนขั้นตอนของการทำอาหารซึ้ง จะประกอบไปด้วย วัตถุประสงค์ ประสบการณ์ที่ได้รับ สาระที่ควรเรียนรู้ กิจกรรม สือ วัดผลประเมินผล บูรณาการ  และเมื่อนักศึกษาทำแผนเสร็จ อาจารย์ก็ให้นักศึกษาออกไปนำเสนอแผน และร่วมกันเลือกว่าจะให้กลุ่มไหนมาสอนสาธิทำอาหารสอนเด็ก ในสัปดาห์หน้า สรุปก็ได้กลุ่มที่ทำแกงจืด 
ครั้งที่15
วันอาทิตย์ ที่15 กันยายยน 2556



บันทึกการเรียนการเรียนการสอน

วันนี้เป้นวันที่เรียนชดเชย อาจราย์ให้ออกไปนำเสอนสือ ทำให้ดิฉันได้ความรู้เรื่องของเล่นต่างๆที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ว่ามีหลักการอย่าไรบ้าง และอาจารย์ก็ได้แนะนำการประดิษฐ์และ ข้อปรับปรุง ในการทำของเล่นที่เหมาะสมกับเด็กด้วย 

วันเสาร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14 
วันจันทร์ ที่ 9 กันยายน 2556


บันทึกการเรียนการสอน

วันนี้อาจารย์ไม่อยู่ เนื่องจากอาจารย์ไปสัมมนาที่ต่างจังหวัดจึงไม่สามารถเข้าสอนได้ แต่จะสอนชดเชยในวันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน 2556
ครั้งที่ 13
วันจันทร์ ที่่ 2 กันยายน 2556


บันทึกการเรียนการสอน

 วันนี้อาจายร์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอ สื่อเข้ามุมวิทยาศาสตร์ และอาจารย์ได้ให้คำแนะนำมาว่า การทำสือสำหรับเด็กไม่ว่าจะเป็นสือประเภทใดก็ตามต้องทำสื่อให้มีความคงทน มีความปลอดภัยและเหมาะสมกับเด็กแต่ละวัย เพื่อป้องกันไม่ให้สื่อพังได้ง่ายและสามารถใช้งานได้นาน

ซึ่่งกลุ่มของดิฉันก็ทำสื่อเข้ามุมเรื่อง กระดาษเปลี่ยนสี
อุปกรณ์ 
              1. กระดาษแข็ง
              2. กระดาษแก้ว 3 สี
              3. กาว
              4. กรรไกร
              5. เชื่อก

วิธีทำ 
         1. นำกระดาษแข็มมาตัดวัดขนาดแล้วตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แล้วตัดช่องตรงกลางออกให้เป็เหมือนกรอบรูป

     
         2.  ติดกระดาษแก้วลงไปในกรอบ ( ทำแบบนี้เหมือนกันทั้ง 3 สี )
               

         3. นำมาตกแต่งให้สวยงาม
               


วิธีเล่น 
           1. นำกระดาษแก้วสีแรกมาวางซ้อนกับสีที่สอง
           2.  นำกระดาษแก้วยกขึ้นแล้วมองผ่านกระดาษแก้ว จะเห็นว่าจะเห็นอีกสีเกิดขึ้นมา

หลักการ  
              เกิดจากการหักเหของแสงที่ผ่านแม่สีทั้ง 3  สี ที่อยู่ในรูปขอแสงรังสี จึงทำให้เราสามารถมองเห็นสีอีกสีที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 12
วันจันทร์ ที่ 26 สิงหาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากอาจารย์ติดธุระ จึงให้นักศึกษาไปประดิษฐ์สื่อเข้ามุมให้เสร็จเรียบร้อย และเตรียมนำเสอนในอาทิตย์หน้าคะ
ครั้งที่ 11
วันจันทร์ ที่ 19 สิงหาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

 วันนี้อาจายร์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกไปนำเสนอการทดลอง โดยกลุ่มของดิฉันได้นำเสนอการทดลองที่มีชื่อว่า นักประดิษฐ์รุ้ง
ครั้งที่ 10
วันจันทร์ ที่ 18 สิงหาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

วันนี้อาจารย์นักศึกษาแต่ละคนนำเสนอสือของเล่นวิทยาศาสตร์ โดยดิฉันได้ออกไปนำเสนอสื่อของเล่นตนเองคือลูกโป่งเฮลิคอปเตอร์ ซึ้งมีขั้นตอนและวิธีการดังนี้

อุปกรณ์
1 ลูกโป่ง
2 ไม้ตะเกียบ
3 เข็ม
4 เทปกาว
5 หลอดกาแฟ
6 หนังยาง

วิธีทำ
1 นำเทปกาวพันตรงกลางหลอด



2 นำหลอดกาแฟเสียบเข้าไปในลูกโป่งแล้วพันด้วยหนังยางไว้
    

3 นำตะเกียบไม้พันข้างบนด้วยเข็ม
    

4 เอาเข้มเสียบเข้าไปตรงกลางหลอดที่พันเทปกาวไว้
      


วิธีเล่น
 ทำปากหลอกเป้นรูปตัว L แล้วเป่า

หลักการ
    การที่หลอดหมุนเป็นวงกลมได้ เพราะแรงดันอากาศ  เมื่อปล่อยลมออกจากลูกโป่ง ทำให้เกิดแรงดันอากาศ  ส่งผลให้หลอดหมุนได้นั้นเอง
ครั้งที่ 9 
วันจันทร์ ที่ 12 สิงหาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นแม่แห่งชาติ
ครั้งที่ 8
วันจันทร้์ที่ 5 สิงหาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันสอบกลางภาค
ครั้งที่ 7 
วันจันทร์ ที่ 29 กรกฏาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

 วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาไปอ่านหนังสือทบทวนบทเรียน เพื่อเตรียมตัวสอบกลางภาค
ในวันอังคารที่ 30 กรกฏาคม 2556
ครั้งที่ 6 
วันจันทร์ ที่ 22 กรกฏาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน
  
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นวันอาสาฬหบูชา

ครั้งที่ 5 
วันจันทร์ที่ 15 กรกฏาคม 2556

บันทึกการเรียนการสอน


- วันนี้อาจารย์ให้ออกไปนำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
  งานของเล่นที่เพื่อนๆนำเสนอมีดังนี้
   1. บูมเมอแรง
   2. ถุงลอยฟ้า
   3. กระดาษปะทัด
   4. ตุ๊กตาล้มลุก
   5. รถพลังลม
   6. ลูกโป่งเฮลิคอปเตอร์
   7. ผึ้งน้อยจากกระป๋อง
   8. เครื่องบินจากกระดาษ
   9. โยโย่
  10. กลองแขกใบจิ๋ว
- จากนั้นอาจารย์ให้ดูคลิป ลูกโป่งรับน้ำหนักของวัตถุต่างๆ
  สาเหตุที่ลูกโป่งรับน้ำหนักได้ทีละมากก็เพราะ ลูกโป่งมีการกระจายน้ำหนัก ไปยังส่วนต่างๆภายใน        ลูกโป่ง จึงทำให้ลูกโป่งที่รับน้ำหนักมากไม่แตก
- ดูคลิป เมล็ดจะงอกไหม ซึ้งน้ำและอากาศเป็นปัจจัยของการเจริญเติบโตของเมล็ดพืช  ถ้าหากเมล็ด พืชไม่ได้รับน้ำและอากาศก็จะไม่สามารถงอกออกมาเป็นต้นไม้ดอกไม้ได้

วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 4 
วันจันทร์ ที่ 8 กรกฎาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

-  อาจารย์ให้นักศึกษาวาดรูปเกียวกับอาไรก็ได้ลงในกระดาษ A4 ที่แบ่งเป้น 8 ช่องเล็กๆ ตามจินตนาการ
โดยค่อยๆเติมส่วนประกอบของภาพลงไปที่ละนิด เพื่่อให้เป็นภาพเคลื่อนไหว 
-  อาจารย์ให้ดุ VDO เรื่องอากาศมหัศจรรย์ 
- จากนั้นอาจารย์ให้ออกไปนำเสนอ เกี่ยวกับสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ ที่ให้ไปคิดตั้งแต่สัปดาห์ที่แล้ว
ครั้งที่ 3
วันจันทร์ ที่ 1 กรกฎาคม 2556


บันทึกการเรียนการสอน

- อาจารย์ให้นักศึกษาร่าวกันวิเคราะห์เกียวกับวิทยาศาสตร์ออกมาเป็น Maid Maping โดยข้อมูลมีความสัมพันธ์กันอย่าต่อเนื่อง
- อาจารย์ใ้ห้ VDO เรื่องแสงซึ้งแสงเป็นพลังงานคลื่นชนิดหนึ่งที่เคลื่อนที่ไว ที่ช่วยให้เราสามารถมอกเห็นสิ่งต่างๆได้ และแสงเดินทางเป็นเส้นตรง และสะท้อนกลับมายังที่เดิม
     
งานที่ได้รับมอบหมาย
  อาจารย์ให้นักศึกษาประดิษฐ์สื่อของเล่นเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 

วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 2 
วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน 2556

บันทึกการเรียนการสอน

อาจารย์ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน 
แล้วให้แต่ละกลุ่มสรุปประเด็นที่แต่ละกลุ่มได้ แล้วส่งตัวแทนไปอธิบายให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟังให้เข้าใจ
ซึ้งประเด็ดทั้งหมดมีดังนี้
1. ความหมายของวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
2. ความสำคัญ
3 แนวคิดพื้นฐานของวิทยาศาสตร์
4. กระบวนการวิทยาศาสตร์และผลผลิต
5. พัฒนาการด้านสติปัญญา
6. การเรียนรู้
ครั้งที่1
วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน 2556

บันทึกการเรียนการสอน

       กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยมีทั้งหมด  5  ขั้นดังนี้
                ขั้นที่  1  กำหนดขอบเขตของปัญหา 
                ขั้นที่  2  ตั้งสมมุติฐาน  
                ขั้นที่  3  ทดลองและเก็บข้อมูล  
                ขั้นที่  4  วิเคราะห์ข้อมูล 
                ขั้นที่  5  สรุปผลคำตอบสมมุติฐาน 
      กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทั้ง  5  ขั้น  เป็นทักษะพื้นฐานที่ต้องนำมาใช้ในกระบวนการ คือ  การสังเกต  การจำแนกและเปรียบเทียบ  การวัด  การสื่อสาร  การทดลอง  การสรุปและการนำไปใช้